วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

ข้อมูลสารสนเทศ

 สภาพปัจจุบัน และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู  เขต 1 เป็นส่วนราชการที่รับผิดชอบ            การจัดการศึกษาภาคบังคับในเขตพื้นที่ 3 อำเภอ ของจังหวัดหนองบัวลำภู  คือ อำเภอเมืองหนองบัวลำภู   อำเภอศรีบุญเรือง  และอำเภอโนนสัง  ปริมาณงานที่รับผิดชอบ และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  ดังนี้



1.  ปริมาณงานในความรับผิดชอบ
              สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1  มีสถานศึกษา นักเรียน  และบุคลากร   ที่อยู่ในความรับผิดชอบ  ดังนี้  มีโรงเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบ จำนวน 207 โรง แยกเป็นโรงเรียน  202 โรง / 5 สาขา  มีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น  26,080 คน  มีห้องเรียนจำนวน 1,886 ห้องเรียน มีโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน 157 โรง โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จำนวน 50 โรง มีศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา จำนวน 23 ศูนย์เครือข่าย มีครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 2,530 คน รายละเอียดตามตารางที่ 1 - 6 ดังนี้

ตารางที่  1   จำนวนโรงเรียนจำแนกตามขนาดของโรงเรียน ปีการศึกษา 2561
                 (ข้อมูล ณ  10  ธันวาคม   2561)
ขนาดโรงเรียน
จำนวน
ร้อยละ
ขนาดที่ 1 (0-120 คน)
135
65.22
    - นักเรียน 0-20 คน
14
6.76
    - นักเรียน 21-40 คน
14
6.76
    - นักเรียน 41-60 คน
36
17.39
    - นักเรียน 61-80 คน
32
15.46
    - นักเรียน 81-100 คน
26
12.56
    - นักเรียน 101-120 คน
13
6.28
ขนาดที่ 2 (121-200 คน)
43
20.77
ขนาดที่ 3 (201-300 คน)
18
8.70
ขนาดที่ 4 (301-499 คน)
5
2.42
ขนาดที่ 5 (500-1499 คน)
5
2.42
ขนาดที่6(1,500-2,499 คน)
1
0.48
ขนาดที่ 7 (>=2,500 คน)
0
0
รวม
207
100
 2

ตารางที่ 2  จำนวนนักเรียนและห้องเรียน จำแนกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2561
               (ข้อมูล ณ  10 ธันวาคม   2561)


ระดับชั้น
จำนวนนักเรียน
จำนวน
ห้องเรียน
ชาย
หญิง
รวม
อนุบาล 1
17
17
34
2
อนุบาล 2
1,254
1,150
2,404
205
อนุบาล 3
1,395
1,337
2,732
214
รวมก่อนประถมศึกษา
2,666
2,504
5,170
421
ประถมศึกษาปีที่ 1
1,491
1,389
2,880
218
ประถมศึกษาปีที่ 2
1,421
1,326
2,747
212
ประถมศึกษาปีที่ 3
1,573
1,369
2,942
221
ประถมศึกษาปีที่ 4
1,544
1,406
2,950
214
ประถมศึกษาปีที่ 5
1,538
1,415
2,953
213
ประถมศึกษาปีที่ 6
1,619
1,494
3,113
221
รวมประถมศึกษา
9,186
8,399
17,585
1,299
มัธยมศึกษาปีที่ 1
647
503
1150
55
มัธยมศึกษาปีที่ 2
585
499
1084
56
มัธยมศึกษาปีที่ 3
620
471
1091
55
รวมมัธยมศึกษาตอนต้น
1,852
1,473
3,325
166
รวมทั้งสิ้น
13,704
12,376
26,080
1,886

ตารางที่ 3  จำนวนโรงเรียน  นักเรียน ห้องเรียน และครูบุคลากรจำแนกตามประเภทการจัดการศึกษา
               (ข้อมูล ณ  10 ธันวาคม   2561)


ที่

อำเภอ
จำนวนโรงเรียน
จำนวนโรงเรียน
จำนวนนักเรียน

รวมจำนวนนักเรียน

ห้องเรียน

จำนวนผู้บริหาร/ครู
ประถม
ขยายโอกาส
ประถม
ขยายโอกาส
1
เมือง
72
53
19
8,938
1,431
10,369
687
680
2
โนนสัง
57
46
11
5,119
508
5,627
485
417
3
ศรีบุญเรือง
78
58
20
8,698
1,386
10,084
714
681
รวม
207
157
50
22,755
3,325
26,080
1,886
1,778


                                                 1

ตารางที่  4  จำนวนโรงเรียนจำแนก ตามนโยบายสำคัญสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                 ปีการศึกษา 2561
ที่
ประเภท
จำนวนโรงเรียน
1
โรงเรียนโครงการประชารัฐ
10
2
โรงเรียนโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
123

-          โรงเรียนนำร่อง ปี 2558
47

-          โรงเรียนสมัครเพิ่มเติม ปี 2559
85
3
โรงเรียนในฝัน
4
4
โรงเรียนดีประจำตำบล
32
5
โรงเรียนสุจริต ปี 2558
24

-          โรงเรียนแกนนำ
1

-          โรงเรียนตามเป้าหมาย (10%)
23
6
โรงเรียนการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ
17
7
โรงเรียนจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
134
8
โรงเรียนการจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ  (DLIT)
80
9
โรงเรียนใสสะอาด
1
10
โรงเรียนแกนนำ การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL)
13
11
โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ
1. กลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า
2. กลุ่มโรงเรียนกองทุนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.)
3. กลุ่มโรงเรียนในโครงการกองทุนการศึกษา
4. กลุ่มโรงเรียนด้วยรักและห่วงใย ในพระราชดำริ
   สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

1
2
3
6
12
โรงเรียนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2560
7
13
โรงเรียนดีใกล้บ้าน (แม่เหล็ก)
2
14
โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ
6
15
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
75
16
โรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
14
17
โรงเรียนแกนนำการจัดการขยะ
5
18
โรงเรียนแกนนำสภานักเรียน
2
19
โรงเรียนแกนนำการจัดการเรียนร่วม
3


ตารางที่  5  ข้อมูลโรงเรียน นักเรียน ห้องเรียน ผู้บริหารและครู จำแนกตามศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพ
                การศึกษา (ข้อมูล ณ  10  ธันวาคม   2561)
ศูนย์เครือข่าย
ที่ตั้งศูนย์เครือข่ายโรงเรียน
จำนวนโรงเรียน
จำนวนนักเรียน
จำนวนห้องเรียน
จำนวนผู้บริหาร/ครู
เมือง 1
หนองบัววิทยายน
10
2,727
123
141
เมือง 2
บ้านนามะเฟือง
11
1,291
94
84
เมือง 3
บ้านบกโนนเรียง
6
893
57
64
เมือง 4
บ้านนาเลิง
8
887
67
67
เมือง 5
ป่าไม้งามโนนนาดีประชานุกูล
13
1,429
113
110
เมือง 6
บ้านหนองผือราษฏร์บำรุง
9
843
78
60
เมือง 7
บ้านอ่างบูรพา
6
785
59
48
เมือง 8
บ้านห้วยข่าโนนสมบูรณ์
9
1,514
96
106
ศรีบุญเรือง 1
บ้านนาดี "คุรุราษฏร์บำรุง"
11
2,415
113
134
ศรีบุญเรือง 2
บ้านศรีบุญเรือง
7
799
62
57
ศรีบุญเรือง 3
บ้านโนนหว้าทอง
10
1,452
88
97
ศรีบุญเรือง 4
บ้านทรายมูล
11
1,238
101
86
ศรีบุญเรือง 5
บ้านทุ่งโพธิ์นาอุดม
10
1,165
92
85
ศรีบุญเรือง 6
บ้านโนนงาม
13
1,181
110
91
ศรีบุญเรือง 7
บ้านโนนสะอาดราษฏร์อุปถัมภ์
6
671
55
47
ศรีบุญเรือง 8
หนองแกสระแก้ววิทยา
10
1,163
93
84
โนนสัง 1
บ้านหนองแวงงิ้วตาก
7
782
56
43
โนนสัง 2
บ้านโคกป่ากุง
10
1,198
91
88
โนนสัง 3
บ้านข่าน้อย
11
1,082
98
88
โนนสัง 4
ชุมชนบ้านกุดดู่
9
1,088
77
78
โนนสัง 5
บ้านโนนสูงหนองสวรรค์
8
625
66
51
โนนสัง 6
บ้านหนองทุ่ม
6
429
46
34
โนนสัง 7
นิคมวัฒนา 6
6
423
51
35
               รวมทั้งสิ้น
207
26,080
1,886
1,778
 หมายเหตุ   1. จำนวนศูนย์เครือข่าย 23  แห่ง ( 37 ตำบล)  แยกเป็น อำเภอเมือง  8 แห่ง (15 ตำบล) 
                    อำเภอศรีบุญเรือง   8 แห่ง (12 ตำบล)  อำเภอโนนสัง  7 แห่ง ( 10 ตำบล) 
                    โรงเรียนทั้งหมด 202  โรง 5 สาขา (เดิมมีโรงเรียน 207 โรง 7 สาขา รวมเป็น 214 โรง)
                2. โรงเรียนที่โอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 2 โรง
                    ได้แก่ โรงเรียนบ้านวังหมื่น และ โรงเรียนชุมชนบ้านขามธาตุวิทยา อำเภอเมือง
                3. โรงเรียนที่เลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 5 โรง มีดังนี้ 1) อำเภอเมือง โรงเรียนบ้านข้องโป้
                    สาขาบ้านโนนหวาย  และ โรงเรียนบ้านโนนสว่าง  2) อำเภอศรีบุญเรือง โรงเรียนบ้านผาเสด็จ 
                    และ โรงเรียนบ้านผาสุก สาขาผาสวรรค์  3) อำเภอโนนสัง โรงเรียนบ้านโสกแดง

ตารางที่ 6  จำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา จำแนกตามประเภท ปีการศึกษา 2561
ประเภท
รวม
u  ข้าราชการครู
            ผู้อำนวยการสถานศึกษา
            รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
            ครู/ครูผู้ช่วย
u  ผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
            ผู้อำนวยการ
            รองผู้อำนวยการ
u  บุคลากรทางการศึกษาอื่น  38 ค (2)
u  ศึกษานิเทศก์
u พนักงานราชการ
     -ครูผู้สอน
     -ครูพี่เลี้ยง
u ครูรายเดือนแก้ไขปัญหาสถานศึกษาขาดแคลนครูขั้นวิกฤต
u ครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
u ครูผู้ทรงคุณค่าแห่งแผ่นดิน
u พี่เลี้ยงเด็กพิการ
u ธุรการโรงเรียน
u ลูกจ้างประจำ
u ลูกจ้างชั่วคราว
     -นักการภารโรง (งบวิกฤต)
     -นักการภารโรง (งบคืนครูให้นักเรียน)
u บุคลากรปฏิบัติงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
1,778
 202
  16
1,560
3
1
2
34
16
111
92
19
50
22
23
92
207
65
125
40
85
4
รวมทั้งสิ้น
2,530



2. ด้านคุณภาพการศึกษา
         2.1 นักเรียนออกกลางคัน
             ในต้นปีการศึกษา 2560  มีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ทั้งสิ้น  21,581  คน และเมื่อสิ้นปีการศึกษา มีนักเรียนออกกลางคัน ทั้งสิ้น  3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.01 ซึ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน  3  คน  คิดเป็นร้อยละ 0.08 และเมื่อแยกตามสาเหตุของการออกกลางคัน พบว่า อพยพตามผู้ปกครอง  รายละเอียด  ตารางที่ 7-8

ตารางที่ 7 จำนวนนักเรียนออกกลางคัน จำแนกตามชั้นเรียน ปีการศึกษา 2560


ระดับชั้น
จำนวนนักเรียน
ต้นปีการศึกษา
จำนวนนักเรียน
ออกกลางคัน

ร้อยละ
ประถมศึกษาปีที่ 1
ประถมศึกษาปีที่ 2
ประถมศึกษาปีที่ 3
ประถมศึกษาปีที่ 4
ประถมศึกษาปีที่ 5
ประถมศึกษาปีที่ 6
2,772
2,989
2,967
2,995
3,141
3,199
0
0
0
0
0
0
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
รวมประถมศึกษา
18,063
0
0.00
มัธยมศึกษาปีที่ 1
มัธยมศึกษาปีที่ 2
มัธยมศึกษาปีที่ 3
1,150
1,171
1,197
0
3
0
0.00
0.26
0.00
รวมมัธยมศึกษาตอนต้น
3,518
3
0.09
รวมทั้งสิ้น
21,581
3
0.01

ตารางที่ 8   จำนวนนักเรียนออกกลางคัน จำแนกตามสาเหตุ ปีการศึกษา 2560  
                (จากจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 21,581 คน)
สาเหตุ
ปีการศึกษา 2560
ชาย
หญิง
รวม
ร้อยละ
1. มีปัญหาในการปรับตัว
2
1
3
0
2. สมรส
0
0
0
0
3. ต้องคดี/ถูกจับ
0
0
0
0
4. เจ็บป่วย/อุบัติเหตุ
0
0
0
0
5. หาเลี้ยงครอบครัว
0
0
0
0
6. อพยพตามผู้ปกครอง
0
0
0
0
7. ฐานะยากจน
0
0
0
0
8. มีปัญหาครอบครัว
0
0
0
0
9. กรณีอื่น ๆ
0
0
0
0
รวมทั้งสิ้น
2
1
3
0.01


     2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
          2.2.1 คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT)

ตารางที่ 9  เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อย NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3   ปีการศึกษา 2558 – 2560 


กลุ่มสาระการเรียนรู้
คะแนนเฉลี่ย
ผลต่างคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
เปรียบเทียบปี 2558 กับ 2559
เปรียบเทียบ ปี 2560 กับ 2559
ด้านภาษา
48.86
51.80
51.28
2.94
-0.52
ด้านคำนวณ
42.89
39.22
38.30
-3.67
-0.92
ด้านเหตุผล
51.68
54.85
44.73
3.17
-10.12
เฉลี่ยรวม
47.81
48.62
44.77
0.81
-3.85
            
              จากตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ  (National Test : NT)  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  ปีการศึกษา 2560   เปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2558  กับ ปีการศึกษา 2559  ระดับเขตพื้นที่การศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยในภาพรวมเพิ่มขึ้น 0.81  เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า เพิ่มขึ้น 2 ด้านคือ ด้านภาษา และ ด้านเหตุผล คือ 2.94 และ 3.17
              เปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2559 กับ ปีการศึกษา 2560 พบว่า  มีค่าเฉลี่ยร้อยละลดลงทุกด้าน  คือ  ความสามารถด้านภาษา  ลดลง 0.52  ความสามารถด้านคำนวณ  ลดลง 0.92  และความสามารถด้านเหตุผล  ลดลง 10.12  และค่าเฉลี่ยรวม  ลดลง 3.85

ตารางที่ 10  เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560 ระดับประเทศ,
                สพฐ.  และ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1
                        
ความสามารถ
คะแนนเฉลี่ย ป.3
ผลต่างคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับ ประเทศ
ผลต่างคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับ สพฐ.
ประเทศ
ระดับ สพฐ.
สพป.นภ.เขต1
ด้านภาษา
52.67
51.94
51.28
-1.39
-0.66
ด้านคำนวณ
37.75
38.38
38.30
0.55
-0.08
ด้านเหตุผล
45.31
44.98
44.73
-0.58
-0.25
เฉลี่ยรวม
45.25
45.10
44.77
-0.48
-0.33

              จากตารางที่ 10 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560 กับ สพฐ. และประเทศ พบว่า สพป.หนองบัวลำภู เขต 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. และระดับประเทศทุกวิชา ยกเว้น ด้านคำนวณ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.55
  
ตารางที่ 11  ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของ
                 ผู้เรียนระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2560 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
                หนองบัวลำภู  เขต 1 ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50  ขึ้นไป (N = 2,286)

 
          วิชา
ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
(50.01 - 100)
ไม่ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50
(0.00 - 50.00)
จำนวน (คน)
คิดเป็นร้อยละ
จำนวน (คน)
คิดเป็นร้อยละ
ด้านภาษา
1,178
51.53
1,108
48.47
ด้านคำนวณ
545
23.84
1,741
76.16
ด้านเหตุผล
855
37.40
1,431
62.60
เฉลี่ย

37.58

62.42
             
               จากตารางที่  11  มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เข้าทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน
ระดับชาติ (National Test : NT)  จำนวน  2,286 คน ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยรวมคิดเป็น
ร้อยละ 37.58 ด้านความสามารถที่นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไปมากที่สุด คือด้านภาษา คิดเป็นร้อยล
51.53  รองลงมา คือด้านเหตุผล และด้านคำนวณ คิดเป็นร้อยละ 37.50 และ 23.84 ตามลำดับ ส่วนด้านที่มี
นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 มากที่สุด คือด้านคำนวณ  คิดเป็นร้อยละ 76.16 รองลงมาคือด้านเหตุผล
คิดเป็นร้อยละ 62.60

       2.2.2 คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
           2.2.2.1   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตารางที่ 12   เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
                 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ปีการศึกษา 2559  และปีการศึกษา 2560

รายวิชา
ค่าเฉลี่ยคะแนน O-NET
เพิ่ม (+) / ลด (-)
ปีการศึกษา 2559
ปีการศึกษา 2560
ภาษาไทย
52.06
45.11
-6.95
ภาษาอังกฤษ
30.35
31.51
1.16
คณิตศาสตร์
37.97
35.49
-2.48
วิทยาศาสตร์
39.83
37.89
-1.94
เฉลี่ย
41.07
37.50
-3.57
    
                 จากตารางที่ 12 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ปีการศึกษา 2559  และปีการศึกษา 2560  พบว่า  ปีการศึกษา 2560 มีคะแนนค่าเฉลี่ยโดยรวมต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ยโดยรวม ปีการศึกษา 2559 (ลดลง ร้อยละ 3.57) และทุกวิชามีค่าเฉลี่ยลดลงจากมากไปหาน้อย คือ  วิชาภาษาไทย  คณิตศาสตร์  และวิทยาศาสตร์ (ลดลงร้อยละ 6.95, 2.48 และ 1.94)  ตามลำดับ  ยกเว้น  วิชาภาษาอังกฤษ  มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2559  คิดเป็นร้อยละ 1.16

ตารางที่ 13  เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
                 ปีการศึกษา  2560  ระดับ ประเทศ, สพฐ.  กับ  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
                หนองบัวลำภู เขต 1  

กลุ่มสาระการเรียนรู้
คะแนนเฉลี่ย
ผลต่างคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.นภ.เขต 1
เปรียบเทียบประเทศ/สพป.
เปรียบเทียบ สพฐ./สพป.
ภาษาไทย
46.58
45.29
45.11
-1.47
-0.18
คณิตศาสตร์
37.12
35.55
35.49
-1.63
-0.06
วิทยาศาสตร์
39.12
38.13
37.89
-1.23
-0.24
ภาษาอังกฤษ
36.34
32.73
31.51
-4.83
-1.22
เฉลี่ย 4 กลุ่มสาระ
39.79
37.93
37.50
-2.29
-0.43

             การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)  ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ปีการศึกษา 2560 กับ สพฐ. และประเทศ พบว่า สพป.หนองบัวลำภู เขต 1
มีคะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. และ ระดับประเทศทุกวิชา

ตารางที่ 14  ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา 
                ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาและคะแนนเฉลี่ย 4 วิชา ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์
                ร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น  สพป.หนองบัวลำภู เขต 1  ปีการศึกษา 2560  (N=2,352)


 
          วิชา
ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
(50.01 - 100)
ไม่ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50
(0.00 - 50.00)
จำนวน (คน)
คิดเป็นร้อยละ
จำนวน (คน)
คิดเป็นร้อยละ
ภาษาไทย
774
32.91
1,578
67.09
ภาษาอังกฤษ
192
8.16
2,160
91.84
คณิตศาสตร์
257
10.93
2,095
89.07
วิทยาศาสตร์
260
11.05
2,092
88.95
เฉลี่ย 4 วิชา

15.77

84.23

           จากตารางที่ 14  มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  เข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน  (O-NET)  จำนวน 2,352  คน  ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยรวมคิดเป็นร้อยละ  15.77  วิชาที่นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไปมากที่สุด คือวิชาภาษาไทย  คิดเป็นร้อยละ 32.91 รองลงมา คือ วิชาวิทยาศาสตร์  คิดเป็นร้อยละ 11.05 ส่วนวิชาที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 มากที่สุด คือ วิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 91.84  รองลงมาคือ วิชาคณิตศาสตร์  คิดเป็นร้อยละ 89.07

          2.2.2.2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 
ตารางที่ 15   เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
                ของนักเรียนชั้นประถมมัธยมศึกษาปีที่ 3  ปีการศึกษา 2559 และปีการศึกษา 2560


รายวิชา
ค่าเฉลี่ยคะแนน O-NET
เพิ่ม (+) / ลด (-)
ปีการศึกษา 2559
ปีการศึกษา 2560
ภาษาไทย
42.67
44.48
1.81
ภาษาอังกฤษ
26.93
27.62
1.32
คณิตศาสตร์
24.20
20.93
-3.27
วิทยาศาสตร์
32.38
29.57
-2.81
เฉลี่ย
34.31
30.65
-3.66

                  จากตารางที่ 15 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน       (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ปีการศึกษา 2559 และปีการศึกษา 2560 พบว่าปีการศึกษา 2560  มีคะแนนค่าเฉลี่ยโดยรวมต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ยโดยรวม  ปีการศึกษา 2559  (ลดลง ร้อยละ 3.66)  วิชาที่มีค่าเฉลี่ยลดลงจากมากที่สุด คือ  วิชาคณิตศาสตร์ รองลงมาคือวิทยาศาสตร์  (ลดลงร้อยละ 3.27และ 2.81)  ยกเว้น วิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ  มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2559  คิดเป็นร้อยละ 1.81 และ 1.32  ตามลำดับ

ตารางที่ 16  เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NETชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3                    
                  ปีการศึกษา  2560  ระดับประเทศ,  สพฐ.  กับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา  
                 หนองบัวลำภู เขต 1  


กลุ่มสาระการเรียนรู้
คะแนนเฉลี่ย
ผลต่างคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.นภ.เขต 1
เปรียบเทียบประเทศ/สพป.
เปรียบเทียบ สพฐ./สพป.
ภาษาไทย
48.29
48.77
44.48
-3.81
-4.29
คณิตศาสตร์
26.30
26.55
20.93
-5.37
-5.62
วิทยาศาสตร์
32.28
32.47
29.57
-2.71
-2.90
ภาษาอังกฤษ
30.45
30.14
27.62
-2.83
-2.52
เฉลี่ย 4 กลุ่มสาระ
34.33
34.48
30.65
-3.68
-3.83

              การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ปีการศึกษา 2560 กับ สพฐ. และประเทศ พบว่า สพป.หนองบัวลำภู เขต 1 
มีคะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ยระดับ สพฐ. และ ระดับประเทศทุกวิชา



ตารางที่ 17     ร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา
                    ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาและคะแนนเฉลี่ย 4 วิชา  ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์
                    ร้อยละ 50 ขึ้นไป สพป.หนองบัวลำภู เขต 1  ปีการศึกษา 2560  (N=818)


 
          วิชา
ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
(50.01 - 100)
ไม่ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50
(0.00 - 50.00)
จำนวน (คน)
คิดเป็นร้อยละ
จำนวน (คน)
คิดเป็นร้อยละ
ภาษาไทย
237
28.97
581
71.03
ภาษาอังกฤษ
0
0.00
818
100.00
คณิตศาสตร์
8
0.98
810
99.63
วิทยาศาสตร์
3
0.37
815
99.02
เฉลี่ย 4 วิชา

7.58

92.42

                      นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ปีการศึกษา 2560 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยรวมคิดเป็นร้อยละ  7.58  โดยวิชาที่นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไปมากที่สุด  คือ วิชาภาษาไทย  คิดเป็นร้อยละ 28.97 รองลงมา คือ วิชาคณิตศาสตร์  คิดเป็นร้อยละ 0.98  ส่วนวิชาที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 มากที่สุด คือ วิชาภาษาอังกฤษ  คิดเป็นร้อยละ 100  รองลงมาคือ  วิชาคณิตศาสตร์  คิดเป็นร้อยละ 99.63

   2.2.3  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (NT, O-net)  ปีการศึกษา 25582560
ตารางที่  18  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ ของระดับประเทศของ สพฐ.
                  กับสพป.นภ.เขต 1 ปีการศึกษา  25582560

ชั้น /วิชา
ปีการศึกษา/คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ประถมศึกษาปีที่ 3
สพฐ.
สพป.
ประเทศ
สพฐ.
สพป.
ประเทศ
สพฐ.
สพป.
ภาษาไทย/ด้านภาษา
46.64
48.86
51.00
50.29
51.80
52.67
51.94
51.28
คณิตศาสตร์/ด้านคำนวณ
40.71
42.89
36.99
37.35
39.22
37.75
38.38
38.30
วิทยาศาสตร์/ด้านเหตุผล
48.56
51.68
53.38
52.62
54.85
45.31
44.98
44.73
ประถมศึกษาปีที่ 6
สพฐ.
สพป.
ประเทศ
สพฐ.
สพป.
ประเทศ
สพฐ.
สพป.
ภาษาไทย
48.39
49.76
52.98
51.06
52.06
46.58
45.29
45.11
คณิตศาสตร์
41.76
42.93
40.47
38.76
37.97
37.12
35.55
35.49
วิทยาศาสตร์
41.55
42.38
41.22
40.27
39.83
39.12
38.13
37.89
สังคมศึกษา ฯ
47.67
48.23
34.59
45.08
45.11



ภาษาอังกฤษ
36.61
36.71
46.68
31.11
30.35
30.45
30.14
27.62
มัธยมศึกษาปีที่ 3
สพฐ.
สพป.
ประเทศ
สพฐ.
สพป.
ประเทศ
สพฐ.
สพป.
ภาษาไทย
42.89
41.30
46.36
46.81
42.67
48.29
48.77
44.48
คณิตศาสตร์
32.42
28.36
29.31
29.53
24.20
26.30
26.55
20.93
วิทยาศาสตร์
37.88
34.00
34.99
35.12
32.38
32.28
32.47
29.57
สังคมศึกษา ฯ
46.42
44.01
31.80
49.34
45.38



ภาษาอังกฤษ
30.16
27.27
49.00
31.39
26.93
36.34
32.73
31.51
 
3.  สรุปปัญหาการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา
          จากการศึกษาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ทั้งในด้านโอกาสทางการศึกษา ด้านคุณภาพของผู้เรียน 

ด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา และด้านปัจจัยอื่น ๆ พบว่า  ยังมีปัญหาที่จะต้องดำเนินการแก้ไขเร่งด่วนในหลายประการ ดังนี้
1)     ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  จากการประเมินระดับชาติ  ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  
และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ยังต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน/ระดับประเทศ 
2)     นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ส่วนหนึ่งยังมีผลการประเมินต่ำกว่าเกณฑ์  การอ่านออก เขียนได้
และคิดคำนวณเป็น
3)      นักเรียนส่วนหนึ่งมีการออกกลางคัน
4)      การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนส่วนหนึ่งยังขาดประสิทธิภาพ สอนโดยไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ         ไม่ใช้สื่อ ,นวัตกรรม , ICT
5)      ครูไม่นำกระบวนการและผลงานวิจัย มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพนักเรียน
6)     ครูและบุคลากรส่วนหนึ่งยังขาดความรู้ ทักษะด้าน ICT เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน
7)      ระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนส่วนหนึ่งยังไม่เข้มแข็ง
8)      การจัดการศึกษา สำหรับเด็กพิการเรียนร่วมในโรงเรียน ยังขาดประสิทธิภาพ ขาดครูที่มีความรู้
ความสารมาถในการคัดกรองเด็ก

9)      การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล ยังไม่ทั่วถึงและไม่ต่อเนื่อง   

1 ความคิดเห็น:

  1. Best Betting Apps in MI 2021 - DRMCD
    Betway Sportsbook Review. 서울특별 출장마사지 How 부산광역 출장마사지 to Claim the 100% welcome bonus in MI. In addition 아산 출장안마 to bonus funds, you'll receive a 100% 서산 출장샵 deposit match bonus,  사천 출장샵 Rating: 4 · ‎Review by Dr

    ตอบลบ